กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) เป็นกฎหมายกลางที่รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลเท่ากับกระดาษ
กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) เป็นกฎหมายกลางที่รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลเท่ากับกระดาษ
เมื่อพูดถึงเรื่องข้อมูลส่วนบุคคล เราก็จะนึกถึงพวก Digital Marketing หากนึกภาพไม่ออก ให้นึกถึงเวลาที่เรากำลังคุยกับเพื่อนหรือเข้าเว็บ Shopping Online เว็บไหนนาน ๆ หรือบ่อย ๆ ก็จะมีโฆษณาสินค้าที่คุณเข้าไปส่องสินค้าบ่อย ๆ แสดงขึ้นมา
เรียกได้ว่าในปัจจุบันนี้ไม่ว่าเราจะเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ใด ทั้งการเข้าไปเพื่ออ่านบทความ ช็อปปิ้งบนเว็บไซต์ E-Commerce หรือแม้แต่กระทั้งการเข้าเว็บไซต์ของบริษัท / แบรนด์ต่าง ๆ เราจะพบกับแบนเนอร์ที่เกี่ยวกับ “คุกกี้” (Cookie) หรือ “นโยบายความเป็นส่วนตัว” ขึ้นมาส่วนใดส่วนหนึ่งของหน้าเว็บนั้น ๆ เพื่อขอความยินยอมในการใช้ข้อมูลของเรา ซึ่งเราจะเรียกส่วนนี้ว่า “คุกกี้แบนเนอร์” (Cookie Consent Banner)
พรบ. คอมพิวเตอร์เป็นกฎหมายที่ใช้ดูแลการกระทำต่าง ๆ ที่อยู่บนโลกออนไลน์ ผู้ใช้โซเชียลทั้งหลายควรศึกษาข้อมูลให้เข้าใจ ก่อนทำผิดกฎหมายโดยไม่รู้ตัว
องค์กรที่ต้องการเก็บหรือใช้ประโยชน์ใดๆ จากข้อมูลส่วนบุคคล จำเป็นต้องดำเนินการตามหลักของ PDPA โดยควรมีเอกสารและแบบฟอร์มต่างๆ เพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ ขอความยินยอมการเก็บข้อมูลจากเจ้าของข้อมูล (Consent)
ภาษี ณ ที่จ่ายเป็นการทยอยจ่ายภาษีล่วงหน้า ช่วยให้ไม่ต้องรับภาระภาษีเป็นเงินก้อน จึงเป็นเครดิตสำหรับคำนวณภาษีได้ ในกรณีที่ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายเกินกว่าภาระที่ต้องจ่ายจริง สามารถขอเงินคืนภาษี ที่จ่ายเกินไปได้